บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2
วันที่ 19 มกราคม 2561
วันนี้เริ่มเรียนการเขียนแผนผังสรุปความคิด เรื่อง
การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยแบ่งหัวข้อ 3 หัวข้อ
ดังนี้
1.การจัดประสบการณ์
ได้แก่
1.1 แนวคิดนักการศึกษา
1.2 หลักการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
1.3 รูปแบบการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
1.4 การออกแบบหน่วยการเรียน
1.5 ทักษะคณิตศาสตร์ที่เด็กควรปฏิบัติได้
1.6 สาระของหน่วยที่เด็กควรเรียนรู้
1.7 การเขียนแผนการจัดประสบการณ์
1.8 สื่อ-อุปกรณ์ ในการจัดประสบการณ์
1.9 การประเมิน
1.10 การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ในชั้นเรียน
1.11 บทบาทของผู้ปกครอง
2.คณิตศาสตร์ ได้แก่
2.1 ความหมาย
2.2 ความสำคัญ
2.3 สาระการเรียนรู้ เช่น การนับ-จำนวน ปริมาณ-ปริมาตร การวัด การเปรียบเทียบ-เรียงลำดับ รูปทรง-ความสัมพันธ์
3.เด็กปฐมวัย ได้แก่
3.1 พัฒนาการด้่นสติปัญญา
3.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
3.3 พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา
1.2 หลักการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
1.3 รูปแบบการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
1.4 การออกแบบหน่วยการเรียน
1.5 ทักษะคณิตศาสตร์ที่เด็กควรปฏิบัติได้
1.6 สาระของหน่วยที่เด็กควรเรียนรู้
1.7 การเขียนแผนการจัดประสบการณ์
1.8 สื่อ-อุปกรณ์ ในการจัดประสบการณ์
1.9 การประเมิน
1.10 การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ในชั้นเรียน
1.11 บทบาทของผู้ปกครอง
2.คณิตศาสตร์ ได้แก่
2.1 ความหมาย
2.2 ความสำคัญ
2.3 สาระการเรียนรู้ เช่น การนับ-จำนวน ปริมาณ-ปริมาตร การวัด การเปรียบเทียบ-เรียงลำดับ รูปทรง-ความสัมพันธ์
3.เด็กปฐมวัย ได้แก่
3.1 พัฒนาการด้่นสติปัญญา
3.2 จิตวิทยาการเรียนรู้
3.3 พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา
การเขียนแผนผังความคิด ครั้งที่ 1 มีการเขียนที่ยังไม่ถูกต้อง ตามหลักการเขียนแผนผังความคิดและต่อมาอาจารย์
ให้นำกลับมาแก้ไขและได้ให้คำแนะนำ แผ่นผังครั้งที่2 เริ่มดีขึ้นเขียนได้ถูกต้องตามหลักการโดยเขียนให้สมดุลกับกระดาษ เขียนหัวข้อใหญ่ให้อยู่ตรงกลาง และการให้เส้นและสีให้ดูง่ายสบายสายตา
การเรียนการสอนในวันนี้
1. กิจกรรมฝึกกระบวนการคิด
อาจารย์ได้เริ่มกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตารางการตื่นนอน โดยการให้นักศึกษานำชื่อของตนเองไปติดในตารางตามเวลาการตื่นนอนของตนเอง โดยมีตื่นก่อน 8 โมง ตื่น โมง และตื่นหลัง 8 โมง
สามารถทำให้รู้ว่า
คนที่ตื่นนอนก่อนเวลา 8.00 น. มีจำนวน 10 คน และ
คนที่ตื่นหลัง 8.00 น. มีจำนวน 14
คน
การเปรียบเทียบทำให้รู้ว่า
คนที่ตื่นนอนก่อนเวลา 8.00 น.มีจำนวนน้อยกว่า
คนที่ตื่นหลัง 8.00 น.
การลบเลข ทำโดยให้แต่ละคนดึงแผ่นชื่อออกไปพร้อมกันทั้ง
2 ฝั่ง ก็จะทำให้ทราบจำนวนที่เหลือ
8.00 การเปรียบเทียบทำให้รู้ว่า คนที่ตื่นนอนก่อนเวลา 8.00 น.มีจำนวนน้อยกว่า คนที่ตื่นหลัง 8.00 น.
การลบเลข ทำโดยให้แต่ละคนดึงแผ่นชื่อออกไปพร้อมกันทั้ง 2 ฝั่ง ก็จะทำให้ทราบจำนวนที่เหลือ
คนที่ตื่นนอนก่อน 8.00 น
|
คนที่ตื่นนอนหลัง 8.00
|
|
|
|
|
จากตารางข้างต้นสิ่งที่เราได้จากตารางนี้คือ การออกแบบสื่อที่เหมาะสมและคุ้มค่า การใช้สื่อนี้กับการสอนเด็กคือ ทำให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่อง
- เวลา
- สัญลักษณ์แทนค่าจำนวน
- การใช้เลขฮินดูอารบิกแทนจำนวน
- ตัวเลข,จำนวน,การเรียงลำดับ
โดยครูต้องเป็นผู้ออกแบบสื่อให้เด็กให้เหมาะสมกับพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก และควรรู้วิธีการเรียนรู้ของเด็กว่าแต่ละวัยนั้นควรออกแบบสื่ออย่างไรจึงจะเหมาะสม เพราะเด็กนั้นเรียนรู้จากการได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
ประเมินตนเอง
วันนี้เข้าเรียนตรงตามเวลาค่ะแต่จะมีไม่เข้าใจบ้างแต่พออาจารย์อธิบายก็ทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นค่ะ ในการแผนผังก็เข้าใจดีค่ะ
ประเมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนๆตั้งใจทำงานที่อาจารย์สั่งค่ะ และตั้งใจฟังที่อาจารย์ค่ะ
ประเมินอาจารย์
วันนี้อาจารย์มีกิจกรรมให้เล่นสนุกมากค่ะ อาจารย์บอกว่าหนูไม่ค่อยยิ้มหนูจะยิ้มเยอะๆนะคอาจารย์ บางทีอาจารย์นี่แหละค่ะทำให้หนูยิ้ม ขอบคุณอาจารย์มากๆเลยค่ะ 😆😆😆😆😆😆😆😆
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น